เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2566 ที่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ศูนย์วิจัยสังคมอนุภูมิภาคลุ่มน้ําโขงคณะศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี , กลุ่มเสรีภาพแม่น้ําโขง , เครือข่ายชุมชนคนฮักน้ําของจ.อุบลราชธานี , สํานักเครือข่ายและการมีส่วนร่วมสาธารณะTPBS , องค์การแม่น้ํานานาชาติ
ร่วมกันจัด เวทีสาธารณะ ชีวิตธรรมดาชุมชนริมโขง กับการเปลี่ยนแปลงจากเขื่อนแม่น้ำโขง
สรุปย่อ ประเด็นสำคัญได้ดังนี้
2 เขื่อนทางลาว ที่จะสร้างขึ้น คือเขื่อนสาละวัน (บ้านกุ่ม) และ ภูงอย
สปป.ลาวคงจะสร้างแน่ เนื่องจากเป็นพื้นที่ของประเทศลาว ไทยเราทำอะไรไม่ได้มาก
ข่าวน่าสนใจ:
- สื่อมาเลย์เผย รัฐบาลไทยยังคง 'เงียบ' บีอาร์เอ็น ปั่นป่วนเพราะความโง่เขลาของตัวเอง
- ข้าวหลามตำบลโคกเจริญคว้ารางวัลชนะเลิศ "ข้าวหลามดี ศรีทับปุด" ปี 2567
- มุกดาหาร -รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม เปิดโครงการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมเปิดใช้ถนนมห.3019 แยก ทล.212 -…
- ชาวบ้านห้วยแถลงเดือดบุกร้องเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา หลังคืนตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดทั้งที่ยังมีคดียักยอกเงินวัดเบิกเข้าบัญชีส่วนตัว
ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น เท่าที่จับใจความได้
– ร่องน้ำระหว่างประเทศเปลี่ยนแปลง
– ชุมชนริมโขงจะเจอ
น้ำนิ่ง
น้ำขัง
น้ำมาเร็ว
น้ำท่วม
แหล่งท่องเที่ยวหลายแหล่ง เช่น สามพันโบก จมหาย
วิถีริมโขงจมหาย
ทรัพยากรธรรมชาติริมโขง จมหาย
ประเทศไทยคงทำอะไรไม่ได้
เพราะทางลาวสร้าง
ไม่ใช่ประเทศไทย ต้องใช้กฎหมายประเทศเขา
ชีวิตชาวบ้านไม่ได้เป็นต้นทุน
ที่คนสร้างเขื่อนคิด
มีแค่แนวทางบรรเทาคือ
รวบรวมข้อมูล
ขนาดไหนรับได้
ขนาดไหนรับไม่ได้
ในฐานะผู้ซื้อไฟฟ้าจากลาว
กรณีผลกระทบต่าง ๆ อาจพิสูจน์ทราบได้ยากทางวิทยาศาสตร์ว่ามาจากเขื่อนจริงหรือไม่ อาจจะมาจากภูมิอากาศ ฯลฯ ไม่ใช่เขื่อนก็ได้ ชุมชนกับนักวิชาการต้องหาทางพิสูจน์ให้ได้ว่าผลกระทบที่เกิดขึ้นมาจากเขื่อน 100%
โอกาสจากกรณีนี้
เป็นโอกาสในการพูดคุยกันทำความเข้าใจ เรียนรู้เรื่องนี้กัน
พัฒนาการสื่อสารทั้งในระดับปัจเจกและชุมชน
เรื่องเล่าเสียงจากภาพ “ชีวิตชุมชนแม่น้ําโขง” โดย ศิลปินเจ้าของภาพถ่าย
ชีวิตธรรมดาของชุมชนและทรัพยากรแม่น้ําโขง
กับการ เปลี่ยนแปลงในรอบ 10 ปี จากการสร้างเขื่อนบนแม่น้ําโขง”
กระจกหกด้านกับสถานการณ์เขื่อนแม่น้ําโขง ปัญหาและผลกระทบต่อชุมชน และระบบนิเวศแม่น้ําโขง
ถูกใจข่าวนี้ไหม?
คลิกที่ดาวเพื่อโหวต
ความนิยมข่าวนี้ / 5. จำนวนโหวต: