ในกิจการทำเหมือง กฟผ. แม่เมาะ พร้อมเดินหน้าประเทศสู่เป้าหมาย Carbon Neutralityกับการพัฒนาโรงไฟฟ้าและพลังงานหมุนเวียน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) โครงการโซลาร์ฟาร์มแม่เมาะ ระยะที่ 1 ผลิตไฟฟ้าสำหรับใช้ในการทำเหมือง กฟผ. แม่เมาะ เพื่อช่วยลดการใช้ไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าแม่เมาะในช่วงเวลากลางวัน พร้อมทั้งร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการเดินหน้าประเทศไทยมุ่งสู่เป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) ในปี ค.ศ. 2050 และปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emissions) ภายในปี ค.ศ. 2065
โครงการโซลาร์ฟาร์มแม่เมาะ ตั้งอยู่ที่ตำบลแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง มีขนาดพื้นที่โครงการประมาณ 490 ไร่ เมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จจะเชื่อมโยงกับระบบโครงข่ายไฟฟ้าระดับแรงดันไฟฟ้า 22 กิโลโวลต์ (kV) ของเหมืองแม่เมาะ กำหนดจ่ายไฟฟ้าเข้าใช้งานในปี 2567 ุการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) กับ สถานที่ตั้งโครงการ และพื้นที่ศึกษาโครงการ Solar Farm แม่เมาะ มีพื้นที่ทั้งหมดรวม 490 ไร่ จำแนกเป็นพื้นที่ส่วนโรงไฟฟ้าและอาคารต่าง ๆ ประมาณ 350 ไร่ และพื้นที่ว่าง ประมาณ 140 ไร่ ตั้งอยู่ที่ตำบลแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ข่าวน่าสนใจ:
- สภาวัฒนธรรมจังหวัดนครปฐม สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครปฐม จัดงานมหาธีรราชเจ้ารำลึก มหกรรมวัฒนธรรมจังหวัดนครปฐม ครั้งที่ 21
- จ.สกลนคร เปิดศูนย์อำนวยความสะดวกและปลอดภัยช่วงเทศกาลปีใหม่ 2568 (โค้งปิ้งงู)พร้อมให้บริการประชาชน 24 ชม.
- พะเยา ลุงซิ่งกระบะเสียหลักชนต้นไม้สังเวยก่อนส่งท้ายปีรายที่ 3
- มทบ.32 ลำปาง มอบผ้าห่มคลายหนาวชุมชนบ้านป่าเหมี้ยง
โดยมีวัตถุประสค์ที่จะจ่ายไฟฟ้าเพื่อกรพาณิชย์ แะได้มอบหมายให้บริษัท เบสท์ เอ็นไวรอนมันท์
คอนขัลแทนท์ จำกัด เป็นบริษัทที่ปรึกษาดำเนินการศึกษาและจัดทำรายงานประมวลหลักการปฏิบัติ (Code of Practice :
CoP) เพื่อจัดส่งให้สำนักงานคณะกรรมกรกำกับกิจการพลังงานพิจารณาอนุญาต และรายงานเกี๋ยวกับการศึกษามาตรการ
ป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย (Environmental Safety Assessment : ESA) เพื่ อจัดส่งให้
กรมโรงงานอุตสหกรรมพิจารณาอนุญาต และกำหนดให้มีการรับฟังความเห็นและทำความเข้าใจกับประชาชนและผู้มีส่วนได้เสีย
ในวันเสาร์ที่ 1 กรกฎาคม 2566 เวลา 09.00 – 12.00 น. ณ ห้องประชุม อาคารหอประชุมและโภชนาคาร วิทยาลัยเทคนิค
กพผ.แม่มาะ อำเภอแม่มาะ จังหวัดลำปาง และเปิดให้มีการรับฟังความเห็นเพิ่มเติม อย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 15 วัน ตั้งแต่
วันอาทิตย์ที่ 2 กรกฎาคม 2566 ถึง วันจันทร์ที่ 17 กรกฎาคม 2566
โดยพื้นที่ศึกษาของโครงการครอบคลุมพื้นที่รัศมี 3 กิโลเมตรจากขอบเขตพื้นที่โครงการ ดังรูปที่ 3-1 อยู่ในเขตปกครอง 8 หมู่บ้าน 2 ตำบล (1 เทศบาลตำบล และ 1 องค์การบริหารส่วนตำบล) ของอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
เขตการปกครองบริเวณพื้นที่ศึกษาระยะ 3 กิโลเมตรจากขอบเขตพื้นที่โครงการ
เขตปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอ ตำบล
แม่เมาะโครงการ Solar Farm แม่เมาะที่ตั้ง: ตำบลแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปางสบป้าด1 จังหวัด 1 อาเภอ 2 ตำบลหมายเหตุ : * หมายถึง ตำบลที่เป็นที่ตั้งของโครงการ เทศบาลตำบลแม่เมาะองค์การบริหารส่วนตำาบลสบป้าด
1 เทศบาลตำบล/1 องค์การบริหารส่วนตำบล
หมู่บ้าน
หมู่ที่ 1 บ้านห้วยเปิด
หมู่ที่ 3 บ้านหางฮุง
หมู่ที่ 4 บ้านแม่เมาะสถานี
หมู่ที่ 5 บ้านปงชัย
หมู่ที่ 6 บ้านห้วยคิง
หมู่ที่ 1 บ้านสบป้าด
หมู่ที่ 3 บ้านสวนป่าแม่จาง
หมู่ที่ 4 บ้านสบเมาะ
8 หมู่บ้าน
ดูสรุปรายละเอียดข้อมูลของข้อมูลโครงการฯ ที่ คิวบาร์โค๊ต
เขตการปกครองบริเวณพื้นที่ศึกษาระยะ 3 กิโลเมตรจากขอบเขตพื้นที่โครงการ
เขตปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอ ตำบล
แม่เมาะ
โครงการ Solar Farm แม่เมาะ
ที่ตั้ง: ตำบลแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
สบป้าด
1 จังหวัด 1 อาเภอ 2 ตำบล
หมายเหตุ : * หมายถึง ตำบลที่เป็นที่ตั้งของโครงการ เทศบาลตำบลแม่เมาะ
องค์การบริหารส่วนตำาบลสบป้าด
1 เทศบาลตำบล/1 องค์การบริหารส่วนตำบล
หมู่บ้าน
หมู่ที่ 1 บ้านห้วยเปิด
หมู่ที่ 3 บ้านหางฮุง
หมู่ที่ 4 บ้านแม่เมาะสถานี
หมู่ที่ 5 บ้านปงชัย
หมู่ที่ 6 บ้านห้วยคิง
หมู่ที่ 1 บ้านสบป้าด
หมู่ที่ 3 บ้านสวนป่าแม่จาง
หมู่ที่ 4 บ้านสบเมาะ
8 หมู่บ้าน
ดูสรุปรายละเอียดข้อมูลของข้อมูลโครงการฯ ที่ คิวบาร์โค๊ต
ถูกใจข่าวนี้ไหม?
คลิกที่ดาวเพื่อโหวต
ความนิยมข่าวนี้ / 5. จำนวนโหวต: